ปิดคอร์ดแล้วน่ะวันเนี้ย
ยังสนุกอยูเลยค่ะ
ไม่อยากให้ปิดเลยน่ะเนี่ย
ตัวอย่างกิจกกรรมส่งเสริมการพูด
-อธิบายหรือเล่าเหตุการณ์
-ทำท่าประกอบคำการพูด
-เล่านิทาน
-ลำดับเรื่องตามนิทาน
-เรียกชื่อตามนิทาน
-เรียกชื่อและอธิบายสิ่งของ
-จำและอธิบายลักษณะสิ่งของ
-อธิบายขนาดและสีของสิ่งของ
ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเขียนที่บ้าน
-แนะนำพ่อแม่ชักชวนให้ลูกหัดสังเกต เช่นฝึกอ่านสัญลักษณ์ต่าง ได้แก่ ป้ายต่างๆ สัญลักษณ์ห้องน้ำชายหญิง
-ชักชวนลูกให้อ่านเครื่องหมายจราจร เช่น สัญญาณหยุด เครื่องหมายจำกัดความเร็ว
-เวลาไปรับประทานอาหารนอกบ้านชักชวนให้รู้จักสิ่งของบนโต๊ะ
-ให้เด็กรู้จักการเขียน เช่น เขียนโน๊ต เขียนจดหมาย
-จดรายการสิ่งของที่จะซื้อด้วยกันและให้คูปองที่หมดอายุแล้วเพื่อให้ลูกจะได้นำไปใช้ที่มุมร้านค้าที่โรงเรียน
-ไปห้องสมุดยืมหนังสือด้วยกัน
ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการฟัง
-ฟังประกอบหุ่น
-ฟังและแยกเสียง
-ฟังเสียงคำคล้องจอง
-ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารณ์
-ฟังแล้วทำตามคำสั่ง
ขั้นตอนการอ่านและการเขียน
-ขั้นที่1
-คาดเดาภาษาหนังสือ
-แก้ไขความผิดพลาดของความหมายด้วยตนเอง
-พยายามใช้ประสบการณ์จากการพูดคุยกลับมาเป็นภาษาที่ใช้อ่าน
ขั้นที่2
-แก้ไขข้อผิดพลาดในประโยคด้วยตนเอง
-ตระหนักว่าตัวหนังสือมีรูปร่างคงที่
-สามารถชื้บอกคำที่เหมือนกันซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน
-สามารถมองตามตัวอักษรบนแผ่นกระดาษขนาดใหญ่ได้
ขั้นที่3
-จำคำที่คุ้ยเคยได้
-คาดคะเนความหมายจากบริบท
-ใช้วีธีการอ่านไปในทิศทางเดียวกันจนเป็นนิสัย
-สามารถระบุและบอกชื่อตัวอักษรได้เกือบหมด
ขั้นที่4
-เข้าใจเกี่ยวกับ"การเริ่มต้น" และ "การลงท้าย"เมื่อนำมาใช้ในการเดาคำ
-ใช้เสียงช่วงต้นของคำในการเดาคำใหม่ๆในบริบท
-สามารถใช้คำที่รู้จักมาแต่งประโยคได้
ขั้นที่5
-ในการแก้ปัญหาการอ่านคำใช้เสียงเริ่มต้นและเสียงควบกล้ำไปพร้อมกับคำใบ้ของบริบท
-สามารถรู้ได้ว่าคำที่พูดประกอบด้วยตัวอะไรบ้าง
การเขียนฃ
ขั้นที่1
-ขีดเขี่ย เป็นการขีดเขียนของเด็กเป็นรูปอะไร
ขั้นที่2
-เขียนยาวซ้ำกัน
ขั้นที่3
-เขียนเป็นรูปร่างแต่ไม่เป็นตัวอักษร
ขั้นที่4
-เริ่มเป็นตัวอักษร
ขั้นที่5
สร้างตัวสะกดเอง
ข้อคิดสำหรับการนสอนภาษา
-สอนแบบธรรมชาติ
-สอนอย่างมีความหมาย
ควรอ่านก่อนขึ้นประถมปีที่1 หรือไม่
-ควรถ้าสถานการณ์เป็นไปตามนี้
-เป็นความปราถนาที่มาจากตัวเด็ก
-วีธีการเหมาะสมกับเด็ก
-เด็กได้ใช้การอ่านเพื่อเสริมประสบการณ์
ไม่ควรถ้าสถานการณ์เป็นเช่น
-คาดหวังให้เด็กทำตามเหมือนกันทุกคน
-เน้นความเงียบ
-สอนแยกแต่ละทักษะออกจากกัน
-สอนโดยถูกบีบบังคับจากผู้ปกครอง+
วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
การสอนภาษาธรรมชาติ(ต่อ)
วันพุธที่ 10 ธันวาคม 2551
การฟังและการพูดของเด้ก
เด้กมีโอกาสได้ยินแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้
เด็กจำเป็นต้องได้ยินได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้นและเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้น
การเรียนรู้วิธีพูดประโยคยาวๆ ทำให้เด็กมีพัฒนาการด้านภาอย่างรวดเร็วขึ้น
เด็กวัย 2 -3 ขวบ การพูดของแม่จะช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม
เกี่ยวกับชีวิตประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนภาษา
การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด้กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน
ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ
การให้เด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้
กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นในเรื่องที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมด
คือองค์รวมที่เป็นเนื้อาหที่นำเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์และความเกี่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริง
จึงกล่าวได้ว่า การเขียนหมายถึงการสื่อสาร เพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
การเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อมกัน เนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดีได้นั้นต้องอาศัยการอ่านที่แตกฉานในเรื่องนั้นๆ
ส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้น ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเลียนแบบ โดยเด็กไม่ได้ใช้ความคิด
แต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือ หรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือนั้นแตกต่างโดยสิ้นเชิง กับการเขียนที่มาจากความคิด
ภาษาที่ได้จากการฝึกคิอและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์ คือ ตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการได้ฟังมากได้อ่านมาก
จนสามารถถ่ายทอดเองได้ และมาฝึกฝนความถูกต้องสวยงามภายหลังส่วนการอ่านนั้นสามาถทได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านจากหนังสือ
จากถนน จากสิ่งรอบตัวจากป้ายโฆษณา จากถุงขนม ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่
และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟัง และตรวจสอบความคิดความเข้าใจ
ซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครู - เด็ก เขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
การฟังและการพูดของเด้ก
เด้กมีโอกาสได้ยินแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้
เด็กจำเป็นต้องได้ยินได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้นและเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้น
การเรียนรู้วิธีพูดประโยคยาวๆ ทำให้เด็กมีพัฒนาการด้านภาอย่างรวดเร็วขึ้น
เด็กวัย 2 -3 ขวบ การพูดของแม่จะช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม
เกี่ยวกับชีวิตประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนภาษา
การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด้กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน
ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ
การให้เด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้
กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นในเรื่องที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมด
คือองค์รวมที่เป็นเนื้อาหที่นำเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์และความเกี่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริง
จึงกล่าวได้ว่า การเขียนหมายถึงการสื่อสาร เพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
การเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อมกัน เนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดีได้นั้นต้องอาศัยการอ่านที่แตกฉานในเรื่องนั้นๆ
ส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้น ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเลียนแบบ โดยเด็กไม่ได้ใช้ความคิด
แต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือ หรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือนั้นแตกต่างโดยสิ้นเชิง กับการเขียนที่มาจากความคิด
ภาษาที่ได้จากการฝึกคิอและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์ คือ ตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการได้ฟังมากได้อ่านมาก
จนสามารถถ่ายทอดเองได้ และมาฝึกฝนความถูกต้องสวยงามภายหลังส่วนการอ่านนั้นสามาถทได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านจากหนังสือ
จากถนน จากสิ่งรอบตัวจากป้ายโฆษณา จากถุงขนม ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่
และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟัง และตรวจสอบความคิดความเข้าใจ
ซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครู - เด็ก เขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
Reflective Teaching
ทฤษฎีทีเป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสอนของครู ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลืนไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตร ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของนักทฤษฎีต่อไปนี้
เพียเจท์
เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหว และมีฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างองค์ความรู้ ขึ้นภายในตนเอง
ไวกอตสกี
การเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียงเช่น พ่อ แม่ เพื่อน และครู
ฮอลลิเดย์
บริบทที่แวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพล ต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษาเด็ก เด็กจะเป็นผู้ใช้ภาษาในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่เกี่ยวข้อง ในการเรียนรู้ผ่านภาและเรียนเกี่ยวกับภาษาไปพร้อมๆกัน
กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญ สำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องการใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครู จะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา
เพียเจท์
เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหว และมีฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างองค์ความรู้ ขึ้นภายในตนเอง
ไวกอตสกี
การเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียงเช่น พ่อ แม่ เพื่อน และครู
ฮอลลิเดย์
บริบทที่แวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพล ต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษาเด็ก เด็กจะเป็นผู้ใช้ภาษาในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่เกี่ยวข้อง ในการเรียนรู้ผ่านภาและเรียนเกี่ยวกับภาษาไปพร้อมๆกัน
กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญ สำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องการใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครู จะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บล๊อกของฉัน
วันนี้ก็ได้ทำบล๊อกเป็นครั้งแรกก็งง งง นิดหน่อย
แต่ก็พอจะทำได้บ้าง อาจารย์ก็พยายามสอนเต็มที่
ในเรื่องดีก็ปนเรื่องร้ายมาซะนี่ ดันลืมเมมโทรศัพท์ไว้ในห้องคอม
เฮ้อ ! ไม่รู้จะไปกะใครรึยังน่อ ไม่น่าขี้ลืมเลยเรา
พรุ่งนี้ว่าจะไปเอา ขอให้เจอเถอะ เพี้ยง!!!!
แต่ก็พอจะทำได้บ้าง อาจารย์ก็พยายามสอนเต็มที่
ในเรื่องดีก็ปนเรื่องร้ายมาซะนี่ ดันลืมเมมโทรศัพท์ไว้ในห้องคอม
เฮ้อ ! ไม่รู้จะไปกะใครรึยังน่อ ไม่น่าขี้ลืมเลยเรา
พรุ่งนี้ว่าจะไปเอา ขอให้เจอเถอะ เพี้ยง!!!!
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)